E-Portfoli in Science Experiences Managment for Early Childhood Semester 1/2557

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่14

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                   วัน/เดือน/ปี  20 พฤศจิกายน  2557   ครั้งที่14


วันนี้อาจารย์สอนชดเชย อาจารย์ให้ทำกิจกรรม วาฟเฟล



สิ่งที่ต้องเตรียม





1.เนย
2.แป้ง
3.นม
5.แก้ว
6.เครื่องทำวาฟเฟล


วิธีการทำ


วิธีการทำ
1.เทน้ำในแป้ง ในปริมาณนมครึ่งแก้วและน้ำ 1 ถ้วยเล็ก ตามด้วยไข่ไก่ 1 ฟอง และชีสที่ตัดแล้วครึ่งหนึ่ง  และตีให้เข้ากัน
2.ตักแป้งสำเร็จรูปที่ปรุงเสร็จแล้วใส่ถ้วยเล็กเพื่อจะนำไปอบ
3.ทาเนยที่เครื่องทำวาฟเฟิลที่เครื่องไม่ให้ติดขนม
4.เทแป้งลงในเครื่องทำขนมและปิดฝาไว้สักพัก จากนั้นก็ผลิกกลับให้ สุขทั้ง2ด้าน ก็จะได้วาฟเฟิล

การนำไปประยุกค์ใช้

การทำกิจกรรมในครั้งนี้สามารถนำไปทำที่บ้าน หรือ สถานีที่ต่างๆ  และ ทำให้ชั้นเรัยน หรือ ทำในหน่วยที่จะสอนได้   เป็นการทำที่ ง่าย ประหยัด และอร่อย 

บันทึกครั้งที่13

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                   วัน/เดือน/ปี  11 พฤศจิกายน  2557   ครั้งที่13



วันนี้กลุ่มที่เหลือจากอาทิตย์ที่แล้วที่ไม่ได้ทำการสอนมีสอนในอาทิตย์นี้



กลุ่มที่6. หน่วยสับปะรส
กลุ่มที่7.หน่วยส้ม
กลุ่มที่8.หน่วยทุเรียน
กลุ่มที่9.หน่วยมด
กลุ่มที่10.หน่วยดิน



 

จากนั้นอาจารย์ได้สอนนักศึกษาทำ ไข่ข้าวโดรายาคิ

ส่วนผสม
1.ไข่ไก่
2.ข้าว
3.ซีอิ้ว
4.ต้นหอม
5.ปูอัด
6.แครท



อุปกรณ์
1.เครื่องทำโดรายากิ
2.กระดาษ
3.กรรไกร
4.ช้อน ซ้อม
5.ถ้วยเล็ก
6.มีดและเขียง

 วิธีการทำ

โต๊ะที่1. ตัดกระดาษให้เป็นวงกลม
โต๊ะที่2. หันหัวหอม ปูอัด แครท
โต๊ะที่3. ตอกไข่ และตีไข่
โต๊ะที่4. นำไข่ใส่ผัก ปูอัด แครท ซีอิ้ว และ ข้าว
โต๊ะที่5. นำไข่ใส่เครื่องทำโดรายากิ 







          ความรู้ที่นำไปประยุกค์ใช้

สามารถนำแผนไปสอน และนำคำแนะนำที่อาจารย์บอกไปปรับประยุกค์ใช้ ในแผนการเรียน และ การเรียนการสอน ในอนาคต    

และการทำไข่ข้าวโดรายากิ สามารถนำไปทำทั้งนอกและในห้องเรียนได้




บันทึกอนุทินครั้งที่12

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                   วัน/เดือน/ปี   4พฤศจิกายน  2557   ครั้งที่12


             วันนี้อาจารย์อธิบายเรื่องแผนการสอน  การวางแผนการสอนให้เข้ากับหน่วยการเรียน






บันทึกอนุทินครั้งที่11

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                   วัน/เดือน/ปี   28 ตุลาคม  2557   ครั้งที่11


กิจกรรมในวันนี้ เป็นกิจกรรมที่อาจารย์นำมา 












วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่10

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                   วัน/เดือน/ปี  21 ตุลาคม    2557   ครั้งที่10


  วันนี้อาจารย์ให้เก็บตกจากเพื่อนๆที่ไม่ได้เอางานประดิษฐ์

รถพลังลม




tool
- ไม้เสียบลูกชิ้น
- ฝาขวดน้ำ
- ยาง
- หลอด
- ลูกโปร่ง
- ขวดน้ำ

                                           How to do


เวลารถจะเเล้น เราต้องเป่าลมที่ลูกโปร่ง แล้วลมที่ลูกโปร่งจะทางหลอด ลมจะดันพื้น แล้วจะทำให้ล้อจะหมุน รถเลยเเล้นได้

 การนำไปประยุกค์ใช้

สามารถนำไปประยุกค์ทำสื่อในหน่วยยานพหนะ หรือสื่อทางวิทยาศาสตร์









การเขียนแผนควรที่จะเขียนให้ควรทุกองค์ประกอบ  ครบทุก5วัน










วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่9

วิชา   การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่  14  ตุลาคม  พ.ศ.2557
เวลาเรียน  08:30  น.

วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ที่แต่ละคนได้คิดค้นและทำมาให้เพื่อนในห้องได้ชม












เทคนิคการสอน
อาจารย์ให้นักศึกษาประดิษฐ์และมานำเเสดงผลงาน ประดิษฐ์อย่างไร และวิธีการเล่นอย่าไร  แล้วมีการเล่นมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างไร

นำไปประยุคใช้
สามารถนำเป็นเป็นสือการสอนในหน่วยต่างๆ หรือว่างตามมุมวิทยาศาสตร์ได้


วันพุธที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่8

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  7กันยายน  2557   ครั้งที่8


อาทิตย์นี้สอบคะ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่7

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  30 กันยายน  2557   ครั้งที่7
เวลาเข้าสอน  08.00  น.   เวลาเข้าเรียน 08.30  น.
เวลาเรียน  12.20  น.


วันนี้อาจารย์ให้ทำ งานประดิษฐ์ 2 อย่าง
กิจกรรมแรก  กังหัน









tool
1. กระดาษแผ่นเล็ก 1 แผ่น 
2.  คลิปติดกระดาษ 1 อัน
3. กรรไกร 1 อัน

make 
1.พับกระดาษครึ่ง
2.จากนั้นตัดกระดาษครึ่งแผ่น
3. และพับคึ่งที่ตัด ให้ไปคนละทางกัน
4.จากนั้นก็นำคลิปนีบกระดาษไปนีบอีกฝั่ง

กิจกรรมนี้ เราจะรู้วิธีการโยน ระดับ และ อยู่ที่แรงลม 

กิจกรรมที่สอง
สัตว์น้อยขึ้นลง



  tool
1. แกรนกระดาษเช็คชู่  
2. กรรไกร
3 กระดาษ 1 แผ่นครึ่ง
4.เชือกไหมพรม 
5.กาว
6.สี
7.ตัวเจาะรู

 make 
1.ตัดตรงกลางแกรนกระดาษเช็คชู่
2.นำตัวเจาะรูมาเจาะ 2 รู ฝั่งเดียวกัน 
3.ตัดกระดาษให้เป็นวงกลม
4.วาดรูปใส่กระดาษ และตกแต่งให้สวยงาม
5.นำรูปที่วาดมาแปะตรงแกรนกระดาษเช็ดชู
6.นำเชือกมาร้อย 


บันทึกอนุทินครั้งที่6

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  21 กันยายน  2557   ครั้งที่6
เวลาเข้าสอน  08.00  น.   เวลาเข้าเรียน 08.30  น.
เวลาเรียน  12.20  น.

Article of a day

1.สอนลูกพืช
2.เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย
3.แนวทางการสอนคิดเติมวิทให้กับเด็กปฐมวัย
4.การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกสำหรับคุณหนู

5.การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆ สำหรับคุณหนูๆ

วัยเด็กเป็นวัยอยากรู้อยากเห็น และเป็นวัยที่กำลังมีการพัฒนาทางปัญญา
การทดลองทางวิทยาศาสตร์จะช่วยส่งเสริมด้านความคิดของพวกเขา และกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบตัว
เด็กสามารถเรียนรู้ทักษะในการแก้ปัญหา ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการสื่อความหมาย 
ทักษะการวัดที่มาพร้อมกับทักษะการคำนวณ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ยังสามารถช่วยให้เด็กเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นรอบๆ 
ตัวเขาซึ่งเกิดจากความซับซ้อนของธรรมชาติและจักรวาล
เราเข้าใจถึงวัยเด็กที่ต้องการการเรียนรู้ควบคู่ไปกับความสนุกที่เต็มไปด้วยรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ
วันนี้เราได้สรรหากิจกรรมวิทยาศาสตร์อนุบาลและเด็กปฐมวัย ซึ่งสามารถทำได้ง่ายและปลอดภัยสำหรับลูกน้อย

1. การทดลองวิทยาศาสตร์อนุบาลสำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี – สีสายรุ้งประกาย 7 สี

สิ่งที่คุณแม่ต้องเตรียม
1. สีน้ำที่เป็นแม่สี
2. จานรองสี
3. พู่กัน
4. แก้วใส่น้ำสำหรับทำความสะอาดพู่กัน

ผสมสีสายรุ้งให้มันส์กันไปเลย!

  1.  หารูปภาพของสายรุ้งมาให้ลูกดูสีเป็นตัวอย่าง
  1. ให้ลูกน้อยนำสีเหลืองไปผสมกับสีน้ำเงิน คนให้เข้ากัน
  1. จากนั้นจะได้เป็นสีเขียว เหมือนสีของสายรุ้งหนึ่งสี
  1. ให้ลูกลองผสมแม่สีไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้สีสายรุ้ง 7 สี
ลูกน้อยสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับสีของสายรุ้งและช่วยให้พวกเขาเข้าใจต้นกำเนิดของสีสันต่างๆ 
กิจกรรมวิทยาศาสตร์อนุบาลที่เต็มไปด้วยสีสันสดใสนี้ยังสามารถดึงดูดความสนใจ 
และความตื่นเต้นในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ให้กับลูกน้อยได้อีกด้วย

กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย – อ่านจดหมายลับจากกระดาษเปล่า!

สิ่งที่คุณแม่ต้องเตรียม
1. ปากกาหมึกซึม
2. น้ำส้มสายชูหรือน้ำมะนาว
3. กระดาษ
4. ไดร์เป่าผม

วิธีการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่น่าตื่นเต้น!

1. จุ่มปากกาลงในน้ำส้มสายชูหรือน้ำมะนาวก่อนที่จะเริ่มต้นการเขียน แล้วเขียนตัวอักษรลงไปในกระดาษ
2. ผึ่งกระดาษไว้ให้แห้ง
3. ใช้ไดร์เป่าผมเป่ากระดาษไปเรื่อยๆ แล้วตัวอักษรจะค่อยๆ ปรากฏขึ้น

ทำไมถึงเป็นอย่างนี้ได้นะ?

คุณแม่สามารถอธิบายให้ลูกน้อยเข้าใจในแง่วิทยาศาสตร์ว่า ที่เป็นเช่นนี้ 
พราะเมื่อน้ำมะนาวหรือน้ำสมสายชูถูกความร้อนแล้วจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นต่อออกซิเจนในอากาศ 
ทำให้ออกซิไดซ์ในน้ำมะนาวเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล

การทดลองวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการในการสังเกตของลูกน้อย

การทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กยังช่วยฝึกให้ลูกน้อยเพิ่มทักษะความรู้เกี่ยวกับการสังเกต 
และการค้นคว้าหาคำตอบด้วยเหตุและผล
ทักษะการสังเกตเป็นความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
  1. ทักษะการมอง โดยการสังเกตขนาด สี รูปร่าง และองค์ประกอบ
  1. ทักษะการฟังเพื่อเพิ่มความสามารถในการแยกระดับเสียงที่แตกต่างกัน
  1. ทักษะการดมเพื่อให้สามารถแยกแยะกลิ่นที่แตกต่างกัน
  1. ทักษะการลิ้มรสช่วยในการรับรู้รสชาติที่แตกต่างของอาหาร
  1. ทักษะการสัมผัสเพื่อเพิ่มความสามารถในการสัมผัสกับสภาพอากาศและพื้นผิวของสิ่งของต่างๆ
มาจาก http://www.breeze.co.th

Knowledge
วันนี้อาจารย์พูดถึงกิจกรรมหลัก6 กิจกรรม  และบอกถึงการเริ่มกิจกรรมหลัก6กิจกรรมว่าควรนำกิจกรรมไหนมาเริ่มก่อน
1. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
2.กิจกรรมสร้างสร้างสรรค์
3.กิจกรรมเสรี
4.กิจกรรมเสริมประสบการณ์
5.กิจกรรมกลางแจ้ง
6.กิจกรรมเกมการศึกษา


Activity



อุปกรณ์
1.กระดาษแข็ง
2.ไม้เสียบลูกชิ้น
3.กรรไกร
5.สก็อตเกป








1. วาดรูป อะไรก็ได้ตามที่ตัวเองชอบ ทั้ง2แผ่น
2. นำไม้มาวางและนำเทปมาแปะตรงกลางของกระดาษแผ่นใดแผ่นหนึ่ง 
3. นำกาวมาทาและปิดติดให้สนิท





Syn 
ถ้าเราหมุนเร็วๆ เราจะได้ภาพ2ภาพมารวมกัน เหมือนเป็นภาพเดียวกัน
Learn move
เฟรดริค วิสเฮม เฟรอเบล ผู้นำการศึกษาอนุบาลที่ได้รับขนานนามว่าเป็น “บิดาการศึกษาปฐมวัย” ด้วยการพัฒนาโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกขึ้นในประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ. 1837 เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปอย่างมีรูปแบบ กำหนดให้มีการวางแผนการสอน มีหลักสูตรสำหรับการศึกษาปฐมวัย มีการฝึกหัดครู รวมถึงการพัฒนาการสอนเด็กปฐมวัยด้วยการผลิตอุปกรณ์การสอน ที่เรียกว่า ชุดอุปกรณ์ และการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่เรียกว่า การงานอาชีพ
เฟรอเบลเชื่อว่าเด็กมีความสามารถในสิ่งดีงาม มาตั้งแต่เกิด เด็กปฐมวัยควรจะเรียนรู้ด้วยการเล่น การแสดงออกอย่างอิสระ เด็กควรได้รับประสบการณ์จากการเรียนรู้ทั้งนอกชั้นและในชั้นเรียนโดยเฉพาะประสบการณ์ที่ได้มาจากการเล่น ด้วยเหตุผลนี้เฟรอเบลจึงใช้พื้นฐานความพร้อมของเด็กในการเรียน พัฒนาการตามช่วงอายุ ธรรมชาติของเด็กและเหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่เฟรอเบลมีความสนใจมาจัดทำเป็นชุดของเล่นและกิจกรรมสำหรับเด็กที่สอดคล้องกับวัยของเด็กโดยเรียกชื่อว่า ชุดอุปกรณ์ (Gifts) และการงานอาชีพ (Occupations)















บันทึกอนุทิน ครั้งที่5

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  16 กันยายน  2557   ครั้งที่5
เวลาเข้าสอน  08.00  น.   เวลาเข้าเรียน 08.30  น.
เวลาเรียน  12.20  น.


  แสงเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเป็นต้นกำเนิดที่ทำให้เกิดภาพที่ตาของเราสามารถมองเห็น แสงที่เราเห็นเป็นสีขาวประกอบด้วยคลื่นแสงของสีหลาย ๆ สีมารวมกัน เมื่อแสงเดินทางไปกระทบวัตถุหนึ่ง ๆ คลื่นแสงของสีบางสีถูกวัตถุดูดกลืนไปและสะท้อนคลื่นแสงสีอื่นเข้าสู่ตาเราทำให้เรามองเห็นวัตถุเป็นสีนั้น การที่ตาของเราเห็นความเข้มของแสงที่บริเวณต่าง ๆ บนผิวของวัตถุไม่เท่ากันเนื่องมาจากระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดแสงกับผิวของวัตถุที่บริเวณต่าง ๆ ยาวไม่เท่ากัน และระนาบของผิวของวัตถุทำมุมกับแหล่งกำเนิดแสงไม่เท่ากัน บริเวณที่สว่างที่สุดบนผิววัตถุเรียกว่า Highlight ส่วนบริเวณของวัตถุที่ไม่ถูกแสงกระทบจะพบกับความมืด ความมืดบนผิวของวัตถุจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่ามีแสงจากที่ใดที่หนึ่งมากระทบน้อยหรือมาก บริเวณที่มืดที่สุดบนผิววัตถุเรียกว่า High Shade การที่แสงส่องมายังวัตถุ จะถูกตัววัตถุบังไว้ทำให้เกิดเงาของวัตถุไปปรากฏบนพื้นที่ที่วางวัตถุนั้น
   วัตถุบนโลกเรานี้ เมื่อมีแสงมากระทบแล้วจะมีคุณสใบัติต่างกัน3แบบ 2 แบบเเรกจะมีคุณภาพที่คล้ายกัน คือ แสงจะทะลุผ่านไปได้ และแสงบางส่วนเรียกว่า วัตถุโปรงแสง (แสงที่ทะบุผ่านได้แค่บางส่วนมองเห็นภาพไม่ชัด) และ วัตถุโปร่งใส (แสงที่ทะแสงทะลุผ่านไปได้ทั้งหมด) ส่วนวัตถุอีกแบบจะดูดกลืนแสงบางส่วนไว้ แล้วก็จะสะท้อนแสงที่เหลือเข้าตา เราเรียก วัตถุทึบแสง ซึ่งเป็นวัตถุส่วนใหญ่ที่อยู่บนโลก

คาไลโดสโคป  (kaleidoscope)  คือกล้องรูปร่างทรงกระบอกด้านในประกอบด้วยกระจกเงาหลายแผ่นหันหน้าเข้าหากันปลายด้านหนึ่งเจาะช่องไว้สำหรับมองปลายอีกด้านมีช่องแสงเข้าซึ่งบรรจุวัตถุต่างเ

รุ้งกินน้ำ
  เป็นการกระจายของแสง เกิดจากแสงขาวหักเหผ่านผิวของละองน้ำ ทำให้แสงสีต่าง ๆ กระจายออกจากกันแล้วเกิดการสะท้อนกลับหมดที่ผิวด้านหลังของละอองน้ำแล้วหักเหออกสู่อากาศ ทำให้แสงขาวกระจายออกเป็นแสงสีต่าง ๆ กัน แสงจะกระจายตัวออกเมื่อกระทบถูกผิวของตัวกลาง เราใช้ประโยชน์จากการกระจายตัวของลำแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ เช่น ใช้แผ่นพลาสติกใสปิดดวงโคม เพื่อลดความจ้าจากหลอดไฟหรือ โคมไฟชนิดปิดแบบต่าง ๆ 
การทะลุผ่าน (Transmission) 
การทะลุผ่าน หมายถึงการที่แสงพุ่งชนตัวกลางแล้วทะลุผ่านมันออกไปอีกด้านหนึ่ง โดยที่ความถี่ไม่เปลี่ยนแปลงวัตถุที่มีคุณสมบัติการทะลุผ่านได้ เช่น กระจก ผลึกคริสตัล พลาสติกใส น้ำและของเหลวต่าง ๆ
การดูดกลืน (Absorbtion)
การดูดกลืน หมายถึง การที่แสงถูกดูดกลืนหายเข้าไปในตัวกลางโดยทั่วไปเมื่อมีพลังงานแสงถูกดูดกลืนหายเข้าไปในวัตถุใด ๆเช่น เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องต้มน้ำพลังงานแสง และยังนำคุณสมบัติของการดูดกลืนแสงมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การเลือกสวมใส่เสื้อผ้าสีขาวจะดูดแสงน้อยกว่าสีดำ จะเห็นได้ว่าเวลาใส่เสื้อผ้าสีดำ อยู่กลางแดดจะทำให้ร้อนมากกว่าสีขาว
การแทรกสอด (Interference)
การแทรกสอด หมายถึง การที่แนวแสงจำนวน 2 เส้นรวมตัวกันในทิศทางเดียวกัน หรือหักล้างกัน หากเป็นการรวมกัน ของแสงที่มีทิศทางเดียวกัน ก็จะทำให้แสงมีความสว่างมากขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าหักล้างกัน แสงก็จะสว่างน้อยลด การใช้ประโยชน์จากการสอดแทรกของแสง เช่น กล้องถ่ายรูปเครื่องฉายภาพต่าง ๆ และการลดแสงจากการสะท้อน ส่วนในงานการส่องสว่าง จะใช้ในการสะท้อนจากแผ่นสะท้อนแสง


การมองเห็น
เราสามารถมองเห็นรุ้งกินน้ำได้เมื่อมีละอองน้ำในอากาศและมีแสงอาทิตย์ส่องมาจากด้านหลังของผู้สังเกตการณ์ในมุมที่สูงจากพื้นไม่มากนัก โดยส่วนใหญ่รุ้งกินน้ำจะปรากฏให้เห็นชัดเจนเมื่อท้องฟ้าส่วนมากค่อนข้างมืดครึ้มด้วยเมฆฝน ส่วนผู้สังเกตการณ์อยู่ในที่พื้นที่สว่างซึ่งมีแสงส่องจากดวงอาทิตย์ จะทำให้มองเห็นรุ้งกินน้ำพาดผ่านฉากหลังสีเข้ม
ปรากฏการณ์รุ้งกินน้ำยังอาจพบเห็นได้ในบริเวณใกล้กับน้ำตกและน้ำพุ หรืออาจสร้างขึ้นเองได้โดยการพ่นละอองน้ำไปในอากาศกลางแสงแดด รุ้งกินน้ำยังอาจเกิดจากแสงอื่นนอกจากแสงอาทิตย์ ในคืนที่แสงจันทร์มีความสว่างมากๆ อาจทำให้เกิดรุ้งกินน้ำก็ได้ เรียกว่า moonbow แต่ภาพรุ้งที่เกิดขึ้นจะค่อนข้างจางมองเห็นได้ไม่ชัด และมักมองเห็นเป็นสีขาวมากกว่าจะเห็นเป็นเจ็ดสี
การถ่ายภาพวงโค้งสมบูรณ์ของรุ้งกินน้ำทำได้ยาก เพราะจำเป็นต้องกระทำในมุมมองประมาณ 84° ถ้าใช้กล้องถ่ายภาพแบบปกติ (35 mm) จะต้องใช้เลนส์ขนาดความยาว 19 mm หรือเลนส์ไวด์แองเกิลจึงจะใช้ได้ ถ้าผู้สังเกตการณ์อยู่บนเครื่องบิน อาจมีโอกาสมองเห็นรุ้งกินน้ำแบบเต็มวงได้ โดยมีเงาของเครื่องบินอยู่ที่ศูนย์กลางวง โดยรุ้งกินน้ำนั้น สีที่เราเห็นมักจะมองเห็นไม่ครบ 7 สี เพราะ สีบางสีจะกลืนซึ่งกันและกัน
แสงที่เกิดเป็นรุ้งนั้นคือแสงขาว และเกิดการหักเหจนเกิดเป็นแถบสี7แถบ โดยสีม่วงจะมีการหักเหมากที่สุด สีแดงมีการหักเหน้อยที่สุด


ประเมินตนเอง
    แต่งกายเรียบร้อย
ประเมินเพื่อน
     เพื่อนๆสนใจในการเรียน
ประเมินการเรียน
     วันนี้อาจารย์แต่งกายสวย และเข้าสอนตรงวลา 

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่4

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  2 กันยายน  2557   ครั้งที่3
เวลาเข้าสอน  08.00  น.   เวลาเข้าเรียน 08.30  น.
เวลาเรียน  12.20  น.


Article of a day

1. จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ "สนุกคิดกับของเล่นวิทยาศตร์"
2.ทำอย่างไรให้ลูกสนใจวิทยาศตร์
3.วิทย์คณิตสำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
4.เมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทคณิต


Knowledge

 วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาสืบค้นและจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยศาสตร์ที่ประกอบด้วย วิธีการทักษะกระบวนการและเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแบบแผน มีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต การทดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงและทำให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป  

The concept of a scientific basis.
1.การเปลี่ยนแปลง (Change)
2. ความแตกต่าง (Differnce)
3. การปรับตัว (Adaptince)
4. การพึ่งพาอาศัยกัน (Dependence)
5. ความสมดุล (Equilibrium)

Method of Sciences
1. ขั้นกำหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นงข้อสรุป

Scientific attitude
1. ความอยากรู้อยากเห็น
2. ความเพียรพยายาม
3. ความมีเหตุผล
4. ความซื่อสัตย์
5. ความมีระเบียบและรอบคอบ
6. ความใจกว้าง

The importance of science
- ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
-  พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทาศาสตร์
- เสริมสร้างประสบการณ์

Benefits of Science
- พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
- พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
- สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง

Application
-  สามารถนำไปปรับเปลี่ยนให้เข้ากับการเรียนการสอนตามพัฒนาการและตามวัยขิงเด็กได้



วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่3

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  2 กันยายน  2557   ครั้งที่3
เวลาเข้าสอน  08.00  น.   เวลาเข้าเรียน 08.30  น.
เวลาเรียน  12.20  น.


วันนี้อาจารย์ในเสนอบทความเกี่ยวกับวิทยาศาตร์ของเด็กปฐมวัย  5 คน 

1. วิทยาศาสตร์และการทดลอง (ได้ทักษะการสังเกต,การจำแนกประเภท,การสื่อความหมาย )
2. ภารกิจตามหาใบไม้ (เด็กจะใช้กระบวนการสืบเสาะ ) 
3. เรื่องไม่เล็กของเด็กชายหอบกับการสร้างวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการ
4. การแยกเมล็ดพันธ์ุพืช ( ใช้การแยกประเภท คือ เกณฑ์ )
5. การทำภารกิจเป่าลูกโป่ง (เด็กจะใช้กระบวนการสืบเสาะ )

อาจารย์ได้อธิบายคุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัย 3-5ปี ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยวัย พ.ศ.2546 

พัฒนาการด้านสติปัญญา
เด็กอายุ 3 ปี                                                                เด็กอายุ 4 ปี                                                                            
 - สำรวจสิ่งต่างๆที่เหมือนและแตกต่าง                   -  จำแนกสิ่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัส ทั้งห้าได้
 -  บอกชื่อของตนเองได้                                           -  บอกชื่อและนามสกุลขอลตนเองได้
 -  ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา                             -  พยามยามแก้ปัญหาด้วยตนเองหลังจากได้รับคำชี้แนะ
 -  สนทนาโต้ตอบ  เล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆ          -  สนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องด้วยประโต่อเนื่อง
 -  สนใจนิทานและเรื่องราวต่างๆ

เด็กอายุ 5 ปี

 - บอกควาทแตกต่างของกลิ่น รูป รส เสียง 
 - บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตยเองได้
 - พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง
 - สนทนาโต้ตอบบอกเล่าเป็นเรื่องราวได้ 





พัฒนาการด้านสติปัญญา  วัยนี้จะเน้นถึงความสามารถในการเข้าใจสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว เด็กเริ่มฝึกหัดการติดต่อสื่อสารทั้งด้านภาษา ท่าทาง และการปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นๆได้


พัฒนาการด้านร่างกาย

เด็กอายุ 3 ปี                                       เด็กอายุ 4 ปี
- รับลูกบอลด้วยมือและลำตัว            - กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้
- เดินขึ้นบันไดสลับเท้าได้                 -  รับลูกบอลได้ด้วยมือทั้งสอง
- เขียนรูปภาพวงกลมตามแบบได้      - เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
- ใช้กรรไกลมือเดียวได้                      - เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้

เด็กอายุ 5 ปี
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม
- ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง

พัฒนาการด้านสังคม
เด็กอายุ 3ปี                                         เด็กอายุ 4 ปี
- รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง    - ชอบเล่นแบบคู่ขนาน
- ชอบเล่นแบบคู่ขนาน                     - แต่งตัวได้ด้วยตัวเอง ไปเข้าสวมได้เอง
- เล่นสมมติได้                                 - แบ่งของให้คนอื่น
- รู้จักรอคอย                                    - เก็บของเล่นเข้าที่ได้


เด็กอายุ 5 ปี
- เล่นหรือทำงานโดยจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
- รู้จักขอบคุณเมื่อรับของจากผู้ใหญ่
- รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

การประเมินตนเอง
 วันนี้เนี้องจากดิฉันไม่สบาย มีอาการปวดหัว และตัวร้อน เลยทำให้ไม่ได้มาเรียน

การนำไปประยุกต์ใช้
 นำความรู้ที่ได้และเทคนิคต่างๆ สามารถนำไปพัฒนาตนเองต่อไป


บันทึกอนุทิน ครั้งที่2

      บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  26  สิงหาคม  2557   ครั้งที่2
เวลาเข้าสอน  08.00  น.   เวลาเข้าเรียน 08.30  น.
เวลาเรียน  12.20  น.

   
วิทยาศาสตร์(science) หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ และกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ที่มีขั้นตอนมีระเบียบแบบแผน

เด็กปฐมวัยวัย VS การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 

- วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กปฐมวัยจริงหรือ ?
      เด็กวัยนี้เป็นวัยที่อย่างรู้อยากลอง อยากที่จะเรียนรู้

- ถ้าเด็กๆเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะยากไปไหม ?
       ไม่อยาก เพราะยังที่บอกไปเมื่อข้อที่แล้วว่าเด็กวัยนี้อยากรู้อยากลอง อยากที่จะเรียนรู้ ถ้าเด็กวัยนี้ได้ทดลองหรือเรียนให้เหมาะสมกับวัยของเด็กจะไม่ยากไปสัมหรับวัยนี้

- ควรจะให้เด็กๆรียนเรียนรู้วิทยาศาตร์อย่างไร
      การทดลองในสิ่งที่เด็กๆสนใจ เริ่มจะสิ่งใกล้ตัว แต่ต้องมันยากหรือซับซ้อนจนเกินไป


การนำไปประยุคต์ใช้
    ได้รู้แนวว่าสิ่งไหนที่ควรจะนำไปสอนนำไปปรับใชกับเด็กปฐมวัย

ประเมินตนเอง
    เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย  ตั้งใจเรียน ไม่คุยในห้อง 

ประเมินเพื่อนในห้อง
    เพื่อนๆเเต่งการเรียบร้อย ไม่พูดคุยกันในห้องเรียน  สนใจและตั้งใจเรียน

ประเมินอาจารย์
   วันนี้อาจารย์แต่งกายสวยงาม  สอนเห็นภาพ อธิบายได้ชัดเจน